การประยุกต์รั้วไร้สาย เพื่อการเตือนภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก

อุทกภัย วาตภัย น้้าป่าไหลหลาก และดินโคลนถล่ม เป็นปัญหาด้านสาธารณภัยที่ส้าคัญเสมอมา ในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูฝนจะมีฝนตกชุกและตกติดต่อกันเป็นเวลานาน จนเกิดน้้าไหลบ่ามาตามผิวดินมากกว่าปกติน้้าปริมาณมากที่ไหลบ่า เข้าท่วมในพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะชุมชนที่ไม่มีระบบระบายน้้าที่สมบูรณ์ และทำความเสียหายแก่พื้นที่ท้าการเกษตร และทรัพย์สินของประชาชน ดังนั้นเมื่อเกิดฝนตกหนักเป็นเวลานานๆ ในแต่ละครั้งมักเป็นปัญหาท้าให้เกิดน้้าท่วม ฉับพลัน หรือดินโคลนถล่มตามมา และมีน้้าท่วมขังในบางพื้นที่สร้างความเสียหาย และส่งผลกระทบในด้านต่างๆ เป็นวงกว้าง เช่น ด้านชีวิต ทรัพย์สิน พื้นที่เพาะปลูก ด้านการเกษตร สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก และสถานการณ์ภัยจากอุทกภัย วาตภัย น้้าป่าไหลหลาก และดินโคลนถล่ม และมีความรุนแรง มากขึ้น

โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย "การประยุกต์รั้วไร้สายเพื่อการเตือนภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก จังหวัดน่านและจังหวัดอุตรดิตถ์" ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประเภทกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ภายใต้โครงการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ ประจำปี 2565

โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย "การประยุกต์รั้วไร้สายเพื่อการเตือนภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก จังหวัดน่านและจังหวัดอุตรดิตถ์" ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประเภทกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ภายใต้โครงการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ ประจำปี 2565 โดยมีหัวหน้าโครงการวิจัย คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คัมภีร์ ธีระเวช อาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และมีผู้ร่วมวิจัยคือ นาวาเอกอนุสรณ์ ยังคุ้มญาติ ศูนย์ไซเบอร์ กรมการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศทหารเรือ

ผศ.ดร.คัมภีร์ ธีระเวช

อาจารย์คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาภูมิสารสนเทศ การประยุกต์รั้วไร้สายเพื่อการเตือนภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก จังหวัดน่านและจังหวัดอุตรดิตถ์" ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประเภทกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ภายใต้โครงการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ ประจำปี 2565

-->