Bettter geographic and data analytics experience with geoinformatics program.

Get Started

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

ความสำคัญ

ซึ่งปัจจุบัน มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนได้นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนประกอบการ ตัดสินใจในการบริหารหรือจัดการพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ถือว่าเป็นเทคโนโลยีใหม่ และจำเป็นต้องทำการพัฒนาหลักสูตรเชิงรุกที่มีศักยภาพและสามารถประยุกต์ ปรับเปลี่ยนได้ตามวิวัฒนาการ ของเทคโนโลยี และการแข่งขันทางเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ปรัชญา

ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อการ จัดการพื้นที่และการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนและเป็นระบบ

  • 1.ชื่อหลักสูตร

    ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิสารสนเทศ
    ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Geoinformatics

  • ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (ภูมิสารสนเทศ)
    ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (ภูมิสารสนเทศ)
    ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Geoinformatics)
    ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc.(Geoinformatics)

  • 1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ โดยครอบคลุม พื้นฐานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การรับรู้จากระยะไกล ระบบดาวเทียมนำทางบนโลก และการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์
    2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีสามารถในการนำความรู้ด้านภูมิสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ ในการจัดการปัญหาต่าง ๆ เช่น การหาพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ การวางแผนป้องกันภัยพิบัติหรือการพัฒนา โปรแกรมประยุกต์เพื่อตอบสนองความต้องการในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับ ชุมชน
    3. เพื่อสนับสนุนให้มีการสร้างหรือดัดแปลงเครื่องมือให้เป็นของตนเองอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย และสนับสนุนให้มีการเผยแพร่แลกเปลี่ยนความรู้ในทางวิชาการด้านภูมิสารสนเทศ หรือศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
    4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นผู้นำ มีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการใช้ภาษา และ เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารในชีวิตประจำวันหรือในการศึกษาขั้นสูงต่อไปได้

  • (1) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
    (2) หรือมีคุณสมบัติอื่นตามประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เรื่องการรับสมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี
    (3) ผ่านการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

    •     นักวิชาการภูมิสารสนเทศ

          นักปฏิบัติการภูมิสารสนเทศ

          เจ้าหน้าที่ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และแผนที่

          นักพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

          เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

          GIS System Administrator

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 ปรับปรุงจาก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 เปิดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Download เล่มหลักสูตร

รายชื่อวิชาที่เรียนในแต่ละชั้นปี (หมายเหตุ: อาจมีการเปลี่ยนแปลงวิชาตามความเหมาะสม)

เทอมที่ 1

พื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับภูมิสารสนเทศ

Fundamentals of Science and Mathematics for Geoinformatics

พื้นฐานการทำแผนที่เฉพาะเรื่อง

Basic of Thematic Mapping

พื้นฐานของภูมิสารสนเทศ

Fundamentals of Geoinformatics

ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

H.M. King Bhumibol Adulyadej's Philosophy for Sustainable Development

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

English for Communication

กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป

General Education

เทอมที่ 2

ภูมิศาสตร์กายภาพสำหรับภูมิสารสนเทศ

Physical Geography for Geoinformatics

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1

Computer Programming I

ดิจิทัลโฟโตแกรมเมตรี

Digital Photogrammetry

การสำรวจเบื้องต้น

Introduction to Survey

ความรู้ในยุคดิจิทัล

Life in the digital age

กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป

General Education

เทอมที่ 1

การเขียนโปรแกรมเว็บ

Web Programming

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 1

Geographic Information System I

การรับรู้จากระยะไกล 1

Remote Sensing I

ระบบดาวเทียมนำทางบนโลก

Global Navigatoin Satellite System

พื้นฐานของไมโครคอนโทรเลอร์และการประยุกต์ด้านภูมิสารสนเทศ

Fundamental Controller an Application in Geoinformatics

กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป

General Education

เทอมที่ 2

การจัดการฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

Database Management in Geographic Information Systems

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุสำหรับภูมิสารสนเทศ

Object-Oriented Programming for Geoinformatics

การวิเคราะห์และการจำลองเชิงพื้นที่

Spatial Analysis and Modeling

มาตรฐานทางภูมิสารสนเทศ

Standards in Geoinformatics

กลุ่มวิชาเอกเลือก

Elective Education

กลุ่มวิชาเอกเลือก

Elective Education

เทอมที่ 1

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2

Geographic Information System II

การรับรู้จากระยะไกล 2

Remote Sensing II

ระบบดาวเทียมนำทางบนโลกขั้นสูง

Advanced Global Navigation Satellite System

สัมมนาทางภูมิสารสนเทศ 1

Seminar in Geoinformatics I

กลุ่มวิชาเอกเลือก

Elective Education

กลุ่มวิชาเอกเลือก

Elective Education

เทอมที่ 2

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนอินเทอร์เน็ต

Internet GIS

โครงงานวิจัย 1

Research Project I

เตรียมความพร้อมปฏิบัติการวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์

Preparation Experience in Computer

เตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์

The pre-cooperative education course of Computer

กลุ่มวิชาเอกเลือก

Elective Education

กลุ่มวิชาเอกเลือก

Elective Education

เทอมที่ 1

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์

Field Experience in Computer

สหกิจศึกษาทางภูมิสารสนเทศ

Cooperative Education of Geoinformatics

เทอมที่ 2

สัมมนาทางภูมิสารสนเทศ 2

Siminar in Geoinformatics II

โครงงานวิจัย 2

Research Project II

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

  • 1.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต

    1) กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรม 9 หน่วยกิต
         บังคับเรียน 3 หน่วยกิต
    2) กลุ่มวิชาการนำความรู้สู่สากล 6 หน่วยกิต
    3) กลุ่มวิชาความอดทน 6 หน่วยกิต
    4) กลุ่มวิชาฉลาดคิดและการจัดการ 6 หน่วยกิต
    5) ให้เลือกกลุ่มวิชาใดวิชาหนึ่งอีก 3 หน่วยกิต

  • 1) วิชาแกน 6 หน่วยกิต
    2) วิชาเฉพาะด้าน 90 หน่วยกิต
       - วิชาเฉพาะด้านบังคับ 59 หน่วยกิต
       - วิชาเฉพาะด้านเลือก 27 หน่วยกิต
       - วิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์ 4 หน่วยกิต

  • ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีเปิดสอน โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมใน เกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภูมิสารสนเทศ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ Bachelor of Science Program in Geoinformatics

เพื่อนำมา พัฒนาท้องถิ่นและสังคมให้เกิดความเข้มแข็งเนื่องจากปัจจุบันแนวโน้มการใช้งานด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เริ่มสูงขึ้น และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับงานด้านต่าง ๆ ได้ครอบคลุมแทบทุกด้านซึ่งเป็นผลดีในการ วางแผนวิเคราะห์แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่เพื่อพัฒนาท้องถิ่นสังคมและประเทศ ดังนั้นการพัฒนา หลักสูตรดังกล่าว จึงต้องเน้นการรู้และเข้าใจถึงเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศคอมพิวเตอร์ และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้วิธีการบูรณาการความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนและ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได

งานวิจัย

  • - คัมภีร์ ธีระเวช. (2563). การจำแน กเสียงเรือด้วยเทคนิคดีมอนและโลฟ าร์บน ไมโครคอนโทรเลอร์ STM32. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 16 (The 16th National Conference on Computing and Information Technology : NCCIT2020) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วันที่ 14-15 เมษายน 2563, 425-430.
  • - ฐากูล ละมูล, คัมภีร์ธีระเวช และบุญเรือน พฤกษ์ศศิธร. (2562). ระบบตรวจจับการขับขี่ จักรยานยนต์ย้อนศร. การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 15 (The 1 5th National Conference on Computing and Information Technology : NCCIT-2019) โรงแรมอโนมาแกรนด์จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วันที่ 4-5 กรกฎาคม 2562, 195-200
  • - วิระ ศรีมาลา และคัมภีร์ ธีระเวช. (2563). ระบบตรวจสอบข้อมูลเรือประมงความเป็นจริงเสริม: กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษอ่าวตราด. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิจังหวัดนนทบุรี. วันที่ 15-16 กรกฎาคม 2563, 322-331.
  • - ทบทอง ชั้นเจริญ วิระ ศรีมาลา และณัฐพล แสวงธรรม. (2560). วิธีการติดตามการเปลี่ยนแปลง ชายฝั่ง กรณีศึกษา: หมู่บ้านคลองหก ต.เกาะเปริด อ.แหลมสิงห์จ.จันทบุรี. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 11(3) เดือนกันยายน - ธันวาคม พ.ศ. 2560, 170-183.
  • - ณัฐนรี ทองเรือง และขนิษฐา ยารักษ์. (2563). การประมาณค่าและติดตามอุณหภูมิพื้นผิว น้ำทะเลด้วยช่วงคลื่นความร้อนของภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนด์แซต 8 กรณีศึกษา อ่าวคุ้งกระเบน อำเภอ ท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (NCIT2020) เดอะไทด์ รีสอร์ท จังหวัดชลบุรี. วันที่ 21-22 ตุลาคม 2563, XX-XX.

อาจารย์ประจำสาขาภูมิสารสนเทศ

ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อการ จัดการพื้นที่และการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนและเป็นระบบ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คัมภีร์ ธีระเวช
Asst.Prof.Dr.Kumpee Teeravech

ประธานสาขาภูมิสารสนเทศ

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Remote Sensing and Geographic Information System) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (Remote Sensing and Geographic Information System) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทบทอง ชั้นเจริญ
Asst.Prof.Tobthong Chancharoen

อาจารย์ประจำสาขา

กำลังศึกษาต่อ ป.เอก วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภูมิสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยบูรพา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อาจารย์ทวีศักดิ์ สัมมา
Ajarn.Taweesak Samma

อาจารย์ประจำสาขา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

วิทยาศาสตรบันฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) สถาบันราชภัฏรำไพพรรณี

ภูมิพัฒน์ อุ่นบ้าน
Ajarn.Phummipat Oonban

อาจารย์ประจำสาขา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิสารสนเทศประยุกต์) มหาวิทยาลัยพะเยา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ภูมิสารสนเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยพะเยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิระ ศรีมาลา
Asst.Prof.Wira Srimala

อาจารย์ประจำสาขา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ปฐพีวิทยา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

-->