การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์
ด้าน Image Processing

15-16 ธันวาคม 2565, คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

ลงทะเบียนหลักสูตร

หัวข้ออบรม

คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดอบรมในหัวข้อเรื่อง การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กับงานด้าน Image Processing ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความเข้าใจและทักษะของการพัฒนาระบบ AI เน้นที่เทคนิค Deep Learning เพื่อใช้งานด้านการประมวลผลภาพจริง และสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดได้ด้วยตนเอง ระยะเวลาในการอบรม 2 วัน ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม 2565

สถานที่

ห้องคอมพิวเตอร์ 433 คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

วันที่อบรม

15-16 ธันวาคม 2565

ลงทะเบียน

*** ไม่มีค่าลงทะเบียน ***

คิดต่อสอบถาม

โทรศัพท์: 039-319111 ต่อ 11100
Email: csit@rbru.ac.th
Line ID: @csit-rbru

Speaker 1

หลักการและเหตุผล

           ในระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมา AI กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของการให้บริการในระบบต่าง ๆ ทั้งในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ และในส่วนที่เป็นการประมวลผลอัตโนมัติภายในโปรแกรมที่ผู้ใช้ (End-user) เองอาจไม่รับรู้ ความรู้เรื่อง AI จึงถือว่าจำเป็นสำหรับนักพัฒนาระบบ นักพัฒนาระบบควรเรียนรู้พื้นฐานการพัฒนาระบบ AI เพื่อจะได้ตัดสินใจได้ถูกต้องในการเลือกระหว่าง Services พร้อมใช้ หรือ AI ที่พัฒนาเอง ตามข้อแม้ของงบประมาณและกรอบเวลาที่มีอยู่

          เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่า สถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต (Career for the Future Academy: CFA) จึงได้ร่วมกับ กลุ่มวิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AINRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม “Deep Learning for Image Applications” ขึ้น เพื่อให้นักพัฒนาได้มีความเข้าใจถึงการใช้งาน AI โดยเฉพาะเทคนิค Deep Learning ซึ่งเป็นเทคนิคหลักในปัจจุบัน โดยเน้นที่งานด้านการประมวลผลภาพ ตั้งแต่หลักการขั้นพื้นฐานจนถึงการพัฒนาเป็น Services ที่ใช้งานได้จริง

วิทยากร

วิทยากรจากคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Speaker 1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คัมภีร์ ธีระเวช

งานวิจัย : การจำแนกภาพถ่ายเบาหวานขึ้นจอประสาทตาด้วยการเรียนรู้เชิงลึก(Deep Learning)

Speaker 3
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิชาญ ทุมทอง

งานวิจัย : การประยุกต์ใชปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อเสริมระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยล่วงหน้าของช้างป่า

Speaker 3
ดร.สุวิชยะ รัตตะรมย์

งานวิจัย : การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้เพื่อหาตำแหน่งที่สัมพันธ์กับการจ้องมองของดวงตา

ตารางการอบรม

วันที่ 15-16 ธันวาคม 2565

เนื้อหาการอบรมประกอบด้วยภาคบรรยายและภาคปฏิบัติจำนวน 12 ชั่วโมง/2 วัน

ลงทะเบียน

ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม

Brenden Legros

วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คัมภีร์ ธีระเวช

อาจารย์ประจำสาขาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Work flow ของการพัฒนาระบบ AI

พักรับประทานอาหารว่าง

เรียนรู้เทคโนโลยี AI โดยเฉพาะการใช้งาน Deep Learning กับงานด้าน Image

พักรับประทานอาหารกลางวัน

Deep Learning พื้นฐานและการประยุกต์เพื่อนำเอา Convolution Neraul Network มาประยุกต์ใช้

พักรับประทานอาหารว่าง

เรียนรู้การใช้งานโครงข่ายประสาทเทียม CNN ทั้งโครงข่ายมาตรฐานและโครงข่ายที่พัฒนาเอง

ลงทะเบียน

ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม

Brenden Legros

วิทยากร ดร.สุวิชยะ รัตตะรมย์

อาจารย์ประจำสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Object Detection พื้นฐานและการประยุกต์ใช้ Deep Learning

พักรับประทานอาหารว่าง

เรียนรู้เทคโนโลยี AI กับการทำ AI Service

พักรับประทานอาหารกลางวัน

กับการทำ AI Service การแปลง CNN ที่สร้างเพื่อให้บริการ

พักรับประทานอาหารว่าง

พัฒนาการของ AI ในปัจจุบัน